ยาแก้ปวด คืออะไร?

รู้หรือไม่ว่ายาแก้ปวดที่ใช้ๆกันอยู่มันคืออะไร และทำงานยังไง?

ยาแก้ปวด เป็นกลุ่มยาที่มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด มีทั้งชนิดที่หาซื้อได้เองหรือจำเป็นต้องใช้ตามคำสั่งของแพทย์ เราสามารถแบ่งประเภทตามกลไกการออกฤทธิ์ได้ 3 ชนิด คือ
▪ ยากลุ่มเอ็นเสด (Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs) ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งสารเคมีในร่างกายที่ทำให้เกิดอาการปวดหรือบวม
▪ ยากลุ่มโอปิออยด์ (Opioid) มีฤทธิ์ช่วยลดสัญญาณความเจ็บปวดที่ส่งมาจากระบบประสาทและปฏิกิริยาของสมองต่อความเจ็บปวด
▪ ยาพาราเซตามอล ออกฤทธิ์โดยการเปลี่ยนแปลงการรับความรู้สึกเจ็บปวดของร่างกาย

ยาแก้ปวด เป็นยาพื้นๆที่ทุกคนรู้จัก และหาซื้อมากินเอง แทบจะเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีติดไว้ทุกครัวเรือน หาซื้อง่าย ซึ่งบางทีก็เป็นเรื่องอันตราย หากไม่ศึกษาให้เข้าใจ หรือปรึกษาแพทย์ เพราะการติดต่อกันเป็นประจำอาจก้อให้เกิดผลเสีย เช่น ยาแก้ปวดข้อเข่าเสื่อมในกลุ่ม NSAID ที่ใช้บรรเทาอาการปวดอักเสบเรื่อรังที่หากซื้อกินเอง นอกจากผลดีในการระงับความปวดแล้วอาจจะได้ของแถมเพิ่มเติมอย่างไม่ได้ตั้งใจอีกด้วย ยาจำพวกนี้ควรกินอยู่ในการควบคุมของแพทย์ เพราะเนื่องจากปัจจุบันยังไม่มียารักษาข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ ผู้ป่วยจำต้องกินยาแก้ปวดอย่างต่อเนื่องเป็นปีๆไปตลอดชีวิต หากไม่มีการปรับพฤติกรรม เพราะการใช้ชีวิตเดิมๆ ก็ก่อให้เกิดผลลัพธ์เดิม เป็นการปวดเรื้อรังไม่หายขาด

ดังนั้นเมื่อกินยาแก้ปวดแล้วหายปวด ผู้ป่วยจึงมักจะหาซื้อยามากินเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ต่อ แต่หากผู้ป่วยไม่ค่อยเข้าใจถึงอันตรายผลข้างเคียงของยาที่กินจึงไม่ได้ระวัง และก่อให้เกิดผลเสียในระยะยาว ยาเหล่านี้ แพทย์มักจะให้หยุดยาเมื่อกินยาไปได้ระยะหนึ่ง เพื่อให้ร่างกายได้พักและขับสารพิษที่สะสมในร่างกายออกก่อน มีการตรวจสอบอวัยวะที่ใช้ในการขับพิษว่ายังอยู่ในสภาพดีอยู่หรือไม่ หากอ่อนแอลงต้องทำการรักษาอวัยวะส่วนนั้นด้วย

นอกจากนี้ การผู้ป่วนกินยาจนเป็นปรกติ จะมีอาการดื้อยา ทำให้ความปวดนับวันจะเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยมักจะเพิ่มปริมาณตัวตัวยาให้สูงขึ้นเอง หรือ กินถี่ขึ้นเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ โรคการปวดอักเสบเรื้อรังนี้ถึงจะไม่อันตรายถึงตายแต่เป็นเรื่องทุกข์ทรมานของผู้ป่วยในการใช้ชีวิตประจำวัน คนที่ไม่เคยเป็นอาจไม่เข้าใจ หากพูดง่ายๆให้เข้าใจ อาจจะเทียบเคียงความทรมานนี้กับเรื่องปวดฟันก็ได้ ปวดฟันจนเหงือกบวม แตะนิดแต่หน่อยก็ปวดสะดุ้ง กินอาหารไม่ได้ ดังนั้นการหายากินเองเป็นเรื่องที่ผู้ป่วยทุกคนสนใจและขอทดลองเพื่อให้พ้นความทุขทรมารนี้ แต่ก็มักจะผิดหวังเสียส่วนมาก และในท้ายที่สุดทางการแพทย์แผนปัจจุบันก็ได้แต่แนะนำให้ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ซึ่งใช้งบประมาณข้างละแสนบาทต่อข้อ

ชาลำไยอินทรีย์ สวนในเวียง มีตัวยาที่ได้ทดสอบกับกลุ่มผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม และพบว่าสามารถลดการอักเสบเรื่อรังได้อย่างมีนัยสำคัญ รายระเอียดการทดลองในห้องทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่มีอาการปวดเข่าจากโรคข้อเข่าเสื่อม